วันพุธที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2554

ระบบปฏิบัติการ

ความหมาย
เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้สำหรับควบคุมและประสานงานระหว่างอุปกรณ์ภายในคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ตั้งแต่CPU หน่วยความจำไปจนถึงหน่วยนำเข้าและส่งออก บางครั้งนิยมเรียกรวมๆว่า แพลตฟอร์ม คอมพิวเตอร์จะทำงานได้จำเป็นต้องมีระบบปฏิบัติการติดตั้งอยู่ในเครื่องเสียก่อน



หน้าที่

1.การจองและการกำหนดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์
2.การจัดตารางงาน
3.การติดตามผลของระบบ
4.การทำงานหลายโปรแกรมพร้อมกัน
5.การจัดแบ่งเวลา
6.การประมวลผลหลายชุดพร้อมกัน



ตัวอย่างระบบปฏิบัติการที่ควรรู้จัก

1.ระบบปฏิบัติการไมโครซอฟต์วินโดวส์
2.ระบบปฏิบัติการแมคอินทอช
3.ระบบปฏิบัติการลินุ๊กซ์
4.ระบบปฏิบัติการวินโดวส์เซิร์ฟเวอร์
5.ระบบปฏิบัติการปาล์ม
6.ระบบปฏิบัติการซิมเบียน


คำถาม

1.ระบบปฏิบัติการ คืออะไร

ก.เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้สำหรับควบคุมและประสานงานระหว่างอุปกรณ์ภายในคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ตั้งแต่CPU หน่วยความจำไปจนถึงหน่วยนำเข้าและส่งออก บางครั้งนิยมเรียกรวมๆว่า แพลตฟอร์ม คอมพิวเตอร์จะทำงานได้จำเป็นต้องมีระบบปฏิบัติการติดตั้งอยู่ในเครื่องเสียก่อน

ข.1.การจองและการกำหนดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์
   2.การจัดตารางงาน
   3.การติดตามผลของระบบ
   4.การทำงานหลายโปรแกรมพร้อมกัน
   5.การจัดแบ่งเวลา
   6.การประมวลผลหลายชุดพร้อมกัน

2.หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ คืออะไร

ก.1.การจองและการกำหนดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์
   2.การจัดตารางงาน
   3.การติดตามผลของระบบ
   4.การทำงานหลายโปรแกรมพร้อมกัน
   5.การจัดแบ่งเวลา
   6.การประมวลผลหลายชุดพร้อมกัน

ข.เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้สำหรับควบคุมและประสานงานระหว่างอุปกรณ์ภายในคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ตั้งแต่CPU หน่วยความจำไปจนถึงหน่วยนำเข้าและส่งออก บางครั้งนิยมเรียกรวมๆว่า แพลตฟอร์ม คอมพิวเตอร์จะทำงานได้จำเป็นต้องมีระบบปฏิบัติการติดตั้งอยู่ในเครื่องเสียก่อน




เฉลย

1.ตอบ ก. เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้สำหรับควบคุมและประสานงานระหว่างอุปกรณ์ภายในคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ตั้งแต่CPU หน่วยความจำไปจนถึงหน่วยนำเข้าและส่งออก บางครั้งนิยมเรียกรวมๆว่า แพลตฟอร์ม คอมพิวเตอร์จะทำงานได้จำเป็นต้องมีระบบปฏิบัติการติดตั้งอยู่ในเครื่องเสียก่อน

2.ตอบ ข.1.การจองและการกำหนดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์
               2.การจัดตารางงาน
               3.การติดตามผลของระบบ
               4.การทำงานหลายโปรแกรมพร้อมกัน
               5.การจัดแบ่งเวลา
               6.การประมวลผลหลายชุดพร้อมกัน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น